ใบกิจกรรมที่ 2
ทฤษฎีการบริหารการศึกษา
มาสโลว์ เป็นผู้วางรากฐานจิตวิทยามนุษย์นิยม เขาพัฒนาทฤษฎีแรงจูงใจ มาสโลว์แบ่งความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่
1.ความต้องการทางกายภาพ
2.ความต้องการความปลอดภัย
3.ความต้องการทางสังคม
4.ความต้องการยกย่องชื่อเสียง
5.ความต้องการที่จะรู้จักตนเองตามสภาพที่แท้จริง
แมคเกรเกอร์ เป็นผู้เรียกร้องให้เปลี่ยนแปลงมุมมองตามทฤษฎี X ไปมุมมองตามทฤษฎี Y ทฤษฎีX มองว่าพนักงานเกียจคร้าน แต่มุมมอง Y มองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบ
วิลเลี่ยม โอชิ ได้ศึกษาการจัดการของโลก 2 ค่ายคือค่ายอเมริกันและค่ายญี่ปุ่นศึกษาจุดเด่นของการบริหารว่าก่อนจะเข้าใจทฤษฎี Z ต้องเข้าใจ ทฤษฎี A และ J ก่อน
ทฤษฎี A คือ การบริหารจัดการ ต้องอาศัยการจัดการพื้นฐานของบุคคล ของผู้บริหารที่เกิดขึ้นในอดีต
ทฤษฎี J คือ การบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น คือมีการเลื่อนตำแหน่ง มีความผูกกัน
วิลเลี่ยม โอชิ นำทฤษฎี 2 ทฤษฎีมาวิเคราะห์ รวมเรียกว่าทฤษฎี 2 เป็นแนวคิดของการบริหารจัดการเชิงจินตนาการ
Henri Fayol บิดาทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่ เป็นทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่ สนใจที่จะศึกษาองค์การโดยรวมและมุ่งเน้นที่กิจกรรมการจัดการ ประกอบด้วยกิจกรรม 5 อย่าง
1. การวางแผน
2.การจัดองค์การ
3.การบังคับบัญชา
4.การประสานงาน
5.การควบคุม
อังริ ฟาโยล มีหลักการจัดการ 14 ประการ
การจัดแบ่งงาน,การมีอำนาจหน้าที่, ความมีวินัย, เอกภาพของสายบังคับบัญชา, เอกภาพในทิศทาง, ผลประโยชน์ของหม่คณะจะต้องเหนือผลประโยชน์ส่วนตน, มีระบบค่าตอบแทนที่ยุติธรรม, ระบบการรวมศูนย์, สายบังคับบัญชา,ความเป็นระบบระเบียบ, ความเท่าเทียมกัน, ความมั่นคง, การริเริ่มสร้างสรรค์, วิญญาณแห่งหมู่คณะ
แมกซ์ เวเบอร์ ได้สรุปแนวคิด 6 ประการดังนี้ คือ
1.องค์การต้องมีการจัดแบ่งงานออกเป็นส่วนๆ
2.องค์การนั้นต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น
3.ระบบการคัดเลือกคนนั้นต้องกระทำอย่างเป็นทางการ
4.องค์การต้องมีระเบียบและกฏเกณฑ์
5.ความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
6.การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ
Luther Gulick ให้ความสำคัญการควบคุม การที่การประสานงาน จะต้องสร้างขอบข่ายการควบคุมให้มีประสิทธิภาพ
เฮร์ซเบอริก ได้สรุปว่าแรงจูงใจของมนุษย์ประกอบด้วย 2 ปัจจัยคือ
1. ปัจจัยภายนอก
2.ปัจจัยภายใน
เทย์เลอร์ ได้พัฒนาวิธีการจ่ายค่าจ้างต่อหน่วยแบบสองระดับ
Gantt เป็นผู้มีชื่อเสียงในด้านการนำกราฟมาเป็นสื่อในการอธิบาย การวางแผน การจัดการ
Frank B. & Lillian M. Gilbreths เน้นการกำจัดความสิ้นเปลือง และความไม่มีประสิทธิภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น